วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2552

จริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์

บทที่1 บทบาทและความสำคัญของอาชีพคอมพิวเตอร์
บันคอมพิวเตอร์มีบทบาทและความสำคัญต่อทุกหน่วยงาน ทำให้มีอาชีที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์มากมาย ด้วยเหตุนี้จึงทำให้นักเรียนนักศึกษาเเละผู้สนใจพากันมาเรียนทางด้านคอมพิวเตอร์กันมากขึ้น เนื่องจากเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ได้มีพัฒนากันอย่างต่อเนื่องและทันสมัย ทำให้การใช้งานได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว จากความสำคัญทางด้านเทคนโนโลยี รัญบาลสมัยนายกรัญมนตรี พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร จึกได้จัดตั้งงกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขึ้น


บทที่2 คุณสามบัติของพนักงานคอมพิวเตอร์
คุณสมบัติของพนักงานคอมพิวเตอร์ในสานประกิบการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานราชการหรือเอกชน จะต้องประกิบไปด้วยลักษณะสำคัญ 3 ด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านกิจนิสัย และ ด้านทักษะ แต่สิ่งที่สถานประกิบการต้องการมากที่สุดคือด้านกิจนิสัย เพราะในการทำงานพนักงานที่มีอุปนิสัยทึ่ดีย่อมก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรมากกว่าพนักงานที่มีนิสัยไม่ดี ซึ่งจะส่งผลเสียต่อการทำงานในหน่วยงาน ฉะนั้นนักเรียนจะต้องปฏิบัติตนให้เป็นคนดี ขยันหมั่นเพียรในการเรียนเพื่อเสริมสร้างความรู้และทักษะในการออกไปประกอบอาชีพในอนาคต


บทที่3 แนวทางประกิบอาชีพทางด้านคอมพิวเตอร์
การประกอบอาชีพทางด้านคอมพิวเตอร์ปัจจุบันมีจำนวนมากไม่ว่าเป็นหน่วยงานราชการหน่วงงงานเอกชน หรืออาชีพส่วนต้ว นักเรียนจะต้องเลือกอาชีพให้ตรงกับความรู้และความสามารถของตนเอง และติดตามเทคโนโลยีหม่ ๆ ที่เจ้ามาอย่างไม่หยุดนิ่ง ถ้าเราไม่ติดตามและใฝ่เรียนรู้ให้ทันเทโนโลยีเหล่านี้ จะทำให้เป็นคนล้าสมัยและหางานทำได้ยาก


บทที่4 บุคลิถาพและการพัฒนาบุคลิภาพในการทำงาน
บุคลิกภาพมีความสำคัญต่อการงานอย่างยิ่ง เพราะคนที่มีบุคลิกภาพที่ดีย่อมยะช่วยส่งเสริม การปฏิบัติงาน และสร้างความสัมพันธฺที่ดีกับผู้ปฏิบัติงานอื่นๆ บุคลิกภาพประกอบไปด้วยลักษณะภายนอกและภายในของแต่ละบุลคล
บุคลิกภาพภายนอกถือเป็นรูปธรรมคือ รูปร่างหน้าตาของแต่ละบุคคลที่เป็นมาแต่กำเหนิด
บุคิลกภาพภายใน ภือเป็นนามธรรม คือ ลักษณะภานในทางด้านจิตใจ อุปนิสัยใจคอ
บุคลิกภาพในทุกๆด้าน ให้เป็นที่ยอมรับของบุคคลอื่น ก็จะเป็นผู้ที่ได้รับความสำเร็จในการดำรงตนอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข


บทที่5 จรรยาบรรณในวิชาชีพ
ในการทำงานทุกอาชีพย่อมจะต้องมีจรรยาบรรณที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้ทุกคนมีคุณธรรมและจริยธรรม ใช้เป็นหลักยึดถือในการปฆิบัติงานตามหน้าที่ให้เกิดประสิทธิภาพ ปราศจาก อคติและข้าครหาใดๆ ในการทำงาน ทำให้ผลงานที่ทำออกมาประสบผลสำเร็จได้เป็นอย่างดี จรรยาบรรณในแต่ละอาชีพย่อมจะแตกต่างกันไปตามลักษณะงาน แต่รวมๆ แล้วมุ่งให้ทุกคนประพฤติในส่งที่ดีงามตามแต่ละอาชีพจะกำหนดขึ้นมา


บทที่6 คุณธรรมขริยธรรมในการทำงาน
การทำงานในทุกองค์การ คุณธรรมและจริยธรรมเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในการทำงานพนักงานแต่ละบุคคลมีคุณธรรมและจริยธรรมมากหรือน้อย ขึ้นอยู่ภายในจิตใจของแต่ละบุคคลเป็นสิ่งที่จะวัดได้ยากมา จะรู้ได้กการเห็นด้วยตาหรือสังเกตได้จากการกระทำของแต่ละบุคคลที่ได้แสดงออกมาเท่านั้น ฉะนั้นถ้าหน่วยงานไดที่มีพนักงานที่เป็นผู้มีจริยธรรมสูง มีความขยัน ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ เห็นประโยขน์ของหน่วยงานหรือสังคมมากกว่าผลประโยขน์ส่วนตัว การทำงานตรงกันข้าม ถ้าไดพนักงานที่ขาดคุณธรรมและจริยธรรมเข้ามาทำงานหน่วงงานหรือสังคมนั้นๆ ก็จะยอมเกิดปัญหาขึ้นได้ จึงจำเป็นที่แต่ละหน่วยงานจต้องเฟ้าหาบุคลาการที่ดีมีคุณภาพเข้ามาทำงานให้มากที่สุด เพื่อความเจริญรุ่งเรื่องของหน่วยงานนั้น ๆ ต่อไป


บทที่7 กฏหมายด้านไอซีที
การประกิบธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ จะต้องดำเนินการให้ถูกต้องตามประราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรินิกส์ พ.ศ. 2544 กิจการใดที่ต้องแจ้งใวในพระราชกฤษฏีกา มิฉะนั้นจะต้องมีความผิดตามกฏหมาย สำหรับความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ขณะนี้ยังอยู่ในระหว่างการยกร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรอยู่ซึ่งควรจะต้องปฆิบัติให้ถูกต้อง

วันอาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีมนุษยสัมพันธ์
1.1 แสดงกริยาท่าทางสุภาพต่อผู้อื่น
1.2 พูดจาสุภาพ
1.3 ช่วยเหลือผู้อื่น
1.4 รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.5 ให้ความร่วมมือกับผู้อื่น
1.6 ชื่นชมยินดีต่อผู้อื่นเมื่อประสบความสำเร็จ
1.7 กล่าวคำขอบคุณ หรือ ข้อโทษได้อย่างเหมาะสม ตามสภานการณ์

2. ความมีวินัย
2.1 ปฏิบัติตามกฏระเบียบ ข้อบังคับ และข้อตกลงต่างๆ ของวิทยาลัยได้แก่ การแต่งกายถูกต้องตามระเบียบและข้อบังคับ ตรงต่อเวลา รักษาสาธารณะสมบัตสิ่งแวทล้อม และเข้าร่วมกิจกรรมที่ครูอาจารย์ผู้สอนกำหนด
2.2 ประพฤติตนถูกต้องตามศีลธรรมอันดีงาม

3. ความรับผิดชอบ
3.1 มีการเตรียมความพร้อมในการเรียนแลการปฏิบัติงาน
3.2 ปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่วางใว้
3.3ปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ
3.4 ปฏบิติงานที่ได้รับมอบหมายเสรจตามกำหนด
3.5 ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกำหนด
3.6มีความเพียรพยายามในการเรียนและการปฏิบัติ
3.7ปฏบิติงานตามหน้าที่ของตนเอง
3.8 ยอมรับผลการกระทำของตนเอง
3.9 ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยของตนเอง
3.10ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้อื่น
3.11 ปฏิบัติงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยต่อส่วนรวม

4. ความซื่อสัตย์สุจริต
4.1 พูดความจริง
4.2 ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตนเอง
4.3 ไม่ทุจริตในการสอบ
4.4 ไม่ลักขโมย

5.ความเชื่อมั่นในตนเอง
5.1 กล้าแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
5.2กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
5.3กล้ายอมรับความจริง
5.4เสนิตัวข้าแข่งขันหรือทำงานท้าทาย
5.5กล้าแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้อง

6.การประหยัด
6.1 ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับการทำงาน
6.2 ปิดน้ำ ปิดไฟ ทุกครั้งเมื่อเลิกใช้
6.3 ใช้ข่ายเงินของส่วนรวมให้เกิดประโยชน์สูงสุด

7.ความสนใจใฝ่รู้
7.1 ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
7.2ซักภามปัญหาข้อสงสัย
7.3 แสวงหาประสบการณ์และค้นหาความรู้ใหม่
7.4มีความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ใหม่

8. การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน
8.1 ไม่สูบบุหรี่
8.2 ไม่ตื่มสุราและของมึนเมา
8.3ไม่เสพสิ่งเสพติดอื่นๆ
8.4 ไม่เล่นการพนัน
8.5 หลีกเลี่ยงการเข้าไปอยู่ในสภานที่มีการเล่นการพนัน

9. ความรักสามัคคี
9.1 ไม่ทะเลาะวิวาท
9.2 ร่วมมือในการทำงาน

10. ความกตัญญูกตเวที
10.1 ตระหนักในพระคุณครูอาจารย์
10.2 มีสัมมาคารวะต่อครูอาจารย์อย่างสม่ำเสมอทุกครั้ง
10.3 มีสัมมาคารวะต่อครูอาจารย์อย่างสม่ำเสมอทั้งต่อหน้าและลับหลัง

11. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
11.1 คิดสิ่งใหม่ๆ ที่เกิดประโยขน์ต่อตนเอง
11.2 มีความคิดลหากหลายในการแก้ปัญหา

12.การพึ่งตนเอง
12.1 สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้ด้วยตนเอง
12.2 สามารถทำงานได้รับมอบหมายได้ด้วยตนเอง
12.3 หารายได้พิเศษด้วยตนเองเมื่อจำเป็น

วันอาทิตย์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

จรรยาบรรณ
คือความดี ความงาม อันหมดจด
คือคำหยาบ เกียรติยศ อันสะท้าน
คือค่านิยม อุตมคติ ปณิธาน
คือหลักการ สำหรับ กำกับใจ
คือกฎ กฏิกา และอาชีพ
คือแสง ดวงประทีป สว่างใส
คือวิธี นิติธรรม เรืองรำไร
ประพฤติเถิด ประพฤติใน จรรยาบรรณ

จรรยาบรรณ
คือ ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพ การงานแต่ละอาชีพ กำหนดขึ้นเพื่อรักษาเกียตรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของชมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อังษร
หรือไม่ก็ได้

ความสำคัญของจรรยาบรรณ
1. ความสำคัญต่อตนเอง ทำให้บุคคลมีความประพฤติดีงาม มีระเบียบวินัย มีน้ำใจ เอื้ออาทร ช่วยเหลือซิ่งกันและกัน
2. ความสำคัญต่อส่วนรวม ทำให้เกิดเจตคติ มีความรับผิดขอบต่อส่วนรววม สังคมมีระเบียบวินัย มีน้ำใจ เอื้ออาทรซึ่งกันและกัน
คนใสสังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ทั้งชึวิตครอบครัว และการงาน สังคมพ้นจากการกดขึ่ขมเหงกัน สังคมสะงบสุข น่าอยู่ หน้าทำงาน

จรรยาบรรณพันกงานคอมพิวเตอร์
1. มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
2. ไม่ละทิ้งงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. ไม่เปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับแก่ผู้อื่น
4. มีความจงรักภักดีต่อองค์การ
5. อุทิศตนให้กับวิชาชีพอย่างเต็มกำลังความสารถ
6. ไม่ทุจริตแบะคอรัปชั่น
7. มีความรักและศรัทธาต่องานอาชีพ

จรรยาบรรณสำหรับผู้ใช้อินเทอร์เน็ต

จรรยาบรรณสำหรับผู้ใบ้อินเทอร์เน็ต โดย รองศาสตราจารย์ ด.ร. ยีน ภู่วรวรรณ ผู้อำนวรการ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลับเกตาศาสตร์ ได้ บัญญัติใว้ 10 ประการ เป็นจรรยาบรรณ ที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตยึดถือไว้ เหสมอนเป็นแม่บทของการปฏิบัติ ผู้ใช้พึงระลึกและเตือนความจำเสมอของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตยึดถือไว้ เสืมอนเป็นปม่บทของการปฏิบัติ ผู้ใช้พึงระลึกและเตือนความจำเสมอ

1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ
10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์

ปัจจุบันรูปแบบการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (cyber-crime) เพิ่มมากขึ้นก็เป็นตามคำกล่าวที่ว่า "คุณอนันต์ โทษมหันต์" โดยในการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการป้องกันอาชญากรรมและการปฏิบัติต่อผู้กระทำผิด ครั้งที่ 10 (The Tenth United Nations Congress on the Prevention of Crime and the Treatment of Offenders) (จัดขึ้นที่กรุงเวียนนา เมื่อ 10-17 เมษายน 2543) ได้มีการจำแนกประเภทของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ออกเป็น 5 ประเภท คือ การเข้าถึงโดยไม่ได้รับอนุญาต, การสร้างความเสียหายแก่ข้อมูลหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์, การก่อกวนการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่าย, การยับยั้งข้อมูลที่ส่งถึง/จากและภายในระบบหรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และการจารกรรมข้อมูลบนคอม พิวเตอร์

อย่างไรก็ตาม โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์และการโจรกรรมทรัพย์สินทางปัญญา (Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) ของกลุ่มบีเอสเอ ได้เก็บรวบรวม และค้นคว้าเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 6 ประเภท ที่ได้รับความนิยม ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อประชาชนและผู้บริโภค ได้แก่

1. การเงิน - อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทำธุรกรรม "อีคอมเมิร์ซ" (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์)
2. การละเมิดลิขสิทธิ์ - การคัดลอกผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลและอินเทอร์เน็ตถูกใช้เป็นสื่อในการก่ออาชญากรรม โดยการโจรกรรมทางออนไลน์หมายรวมถึง "การละเมิดลิขสิทธิ์" ใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อจำหน่ายหรือเผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์
3.การเจาะระบบ - การให้ได้มาซึ่งสิทธิในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใช้สิทธิการเข้าถึงนี้โดยไม่ได้รับอนุญาต ทั้งยังอาจรองรับการก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นๆ (เช่น การปลอมแปลง การก่อการร้าย ฯลฯ)
4. การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์ - สืบเนื่องจากการเจาะระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว เช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป โดยการกระทำที่เข้าข่าย "การก่อการร้ายทางอิเล็กทรอนิกส์" (e-terrorism) จะเกี่ยวข้องกับการเจาะระบบคอมพิวเตอร์เพื่อก่อเหตุรุนแรงต่อบุคคลหรือทรัพย์สิน หรืออย่างน้อยก็มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความหวาดกลัว
5. ภาพอนาจารทางออนไลน์ - การประมวลผลหรือการเผยแพร่ภาพอนาจารเด็กถือเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย และการเผยแพร่ภาพลามกอนาจารในรูปแบบใดๆ แก่เยาวชนถือเป็นการกระทำที่ขัดต่อกฎหมาย อินเทอร์เน็ตเป็นเพียงช่องทางใหม่สำหรับอาชญากรรม "แบบเก่า" อย่างไรก็ดี ประเด็นเรื่องวิธีที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมช่องทางการสื่อสารที่ครอบคลุมทั่วโลกและเข้าถึงทุกกลุ่มอายุนี้ได้ก่อให้เกิดการถกเถียงและการโต้แย้งอย่างกว้างขวาง
6. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ในโรงเรียน ถึงแม้ว่าอินเทอร์เน็ตจะเป็นแหล่งทรัพยากรสำหรับการศึกษาและสันทนาการ แต่เยาวชนจำเป็นต้องได้รับทราบเกี่ยวกับวิธีการใช้งานเครื่องมืออันทรงพลังนี้อย่างปลอดภัยและมีความรับผิดชอบ โดยทางโครงการมีเป้าหมายหลักที่จะกระตุ้นให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดทางกฎหมาย สิทธิของตนเอง และวิธีที่เหมาะสมในการป้องกันการใช้อินเทอร์เน็ตในทางที่ผิด

สรุป

ในการทำงานทุกอาชีพย่อมจะต้องมีจรรยาบรรณที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้ทุกคน มีคุณธรรมและจริยธรรม ใช้เป็นหลักยึดถือในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ให้เกิดประสิทธิภาพ ปาศจาก อคติและข้อกรหาใด ๆ ในการทกงาน ทำให้ผลงานที่ทำออกมาประสบผลสำเร็จได้เป็นอย่างดี จรรยาบรรณในแต่ละอาชีพย่อมจะแตกต่างกันไปตามลักษณะงาน แต่รวม ๆ แล้วมุ่งให้ทุกคน ระพฤติปฏิบัติแต่ในสิ่งที่ดีงามตามแต่ละอาชีพจะกำหนดขึ้นมา....

วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2552

บุคลิภาพและการพัฒนาบุคลิกภาพในการทำงาน

1. บุคลิภาพและการพัฒนาบุคลิกภาพในการทำงาน
ในการเรียนวิชาจริยธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร์ ซึ่งในเนื้อหาวิชา ผู้เรียนจะได้เรียนเกี่ยวกับ วิธีปฏิบัติตัวในการทำงานด้านวิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อนำมาใช้กับงานสำนักงาน ในหน่อวงาน ต่างๆ แล้ว ผู้เรียนยังจะได้เรียนเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพด้วย เพราบุคลิภาพก็มีส่วช่วยส่งเสริมการทำงานในสำนักงานด้วย เพราะสถานประกอบการใดๆ ก็ตาม เมื่อมีความต้องการที่จะรับสมัครพนักงานเข้าทำงานในสำนักงานแล้ว นักจากต้องการผู้ที่มีความรู้ความสามารถมนการปฏิบัติงานทางด้านคอมพิวเตอ์ในสำนักงานได้แล้ว ยังต้องส่งเสริมการปฏิบัติงานและสร้างความสัมพันธ์ที่ดีสำหรับ ผู้ปฏิบัตงานอื่นๆ และสร้างการบริการแก่ผู้มาติดต่องาน

2.ความหมายของบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพ(Personality) หมายถึง บุคลิกลักษณะเฉพราะของแต่ละบุคคล ซึ่งจะประกอบไปด้วยรูปร่างหน้าตา ลักษณะนิสัย อารมณ์ ความสนใจ และความสามารถ ตลอดจนความมีมนุษสัมพันธ์กับยุคคลรอบข้าง

บุคลิกภาพจะประกอบไปด้วยลักษณะภายนอกและภายในนของแต่ละบุคคล ทำให้บุคคลแต่ละคนนั้นมีสมรรถภาพทางร่างการและจิตแตกต่างกันไป

-ลักษณะภายนอกถือเป็นรูปธรรม
หมายถึง รูปร่างหน้าตาของแต่ละบุคคลที่เป็นมาแต่กำเนิด เช่น มีรูปร่างหน้าตา รูปหล่อ หน้าตาสวยงาม บางคนเกิดมาหน้าตาหน้ากล้ง ขี้ริ้วขี้แหร่ เหล่านี้ย่อมเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาบุคลิกถาพเป็นอย่างมาก บาง คนที่เกิดมาที่มีความเพียบพร้อมดีแล้วทางด้านร่างกาย ย่อมส่งผลดีทางด้านจิตใจอีกด้วย

ลักษณะทางร่างกายที่ทุกคนชื่นชอบ

1. มีส่วนสูงและน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐานของแต่ละชนชาติ
2. มีผิวพรรณสวยงามแหมะสมตามธรรมชาติของชนชาตินั่นๆ
3. ชาวเอเชียจะมีผมเป็นสีดำ ชาวยุโรปจะมีผมเป็นสีทอง ทั่งนี้ขี้นอยู่กับภูมิอากาศและสภาพแวดล้อมของแต่ละทวีป
4. ความเข้มแข็งของสุภาพบุรุษ และความนุ่มนวลของสุภาพสตรีในแต่ละขนชาติ

ลักษณะภานใน ภือเป็นนามธรรม หมายถึง ลักษณะภานในทางด้านจิตใจ ดานอุปนิสัย ใจคอ ลักษณะความรู้สึกนึกคิด ความร่าเริงแจ่มใส ความประพฤติและพฤติกรรมของแต่ละบุคคล

3. การพัฒนาบุคลิกภาพ

เนื่องจากบุคลิกภาพเป็นลักษณะของบุคคลโดยรวมของแต่ละคคล ซึ่งย่อมแตกต่างกันทั้ง รูปร่าง หน้าตา ด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญา พฤติกรรม เอการกระทำใด ๆ ตลอดขนการแสดงกริยาอาการต่างๆ ซึ่งภือเป็นบักษณะนิสัยของบุคคล ซึ่งจะต้องมีการพัฒนาให้เป็นที่ยอมรับ นับถือแก่ผู้ที่พบเห็น สำหรับการเสริมสร้างบุคลิกภาพให้เป็นที่ยอมรับของบุคคลภายนอกก็จะเป็นผู้ที่ได้รบความสำเร็จในการดำรงตนอยู่ในสังคมรอบตัวเรา มีความสุข ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพั๕นาบุคลิกภาพ

4. ประโยชน์ของการพัฒนาบุคลิกภาพ มีดังนี้

1.สร้างเสริมสุขภาพให้เเข็งแรงตลอดเวลา ต้วยการออกกำลังการ
2. ทำให้ร่างกายมีบุคิกภาพที่ดีคล่างแล่วว่องไว และสง่าผ่าเผย
3. เป็นผู้ที่มีความร่าเริง จิตใจแจ่มใน อารมณ์ดี
4. มีกิริยามารยาท และพูดจาด้วยถ้อยคำทีสุภาพเป็นแสน่ห์กับผู้พบเห็น
5. เป็นผู้ที่มีเหติผลไม่วู่วามมีความสุขุมรอบคอบ มีสติ และควบคุมตัวเองได้
6. มีจิตใจที่เข้าแข็ง มีความอิทน ต่อสู้กับปัญหาและอุปสรรคได้
7. ยอบรับความเป็นจริงของโลกมรุษย์ ซึ่งประกอบไปด้วยสุขและทุกข์
8. มีความเชื่อมั่นในตัวเอง กล้าคิดกล้าทำ กล้าแสดงออก หรือกล้าตัดสินใจ โดยอาศัย หลักการและเหติผล
9. มีความคิกใผ่หาความรู้ก้าวหน้าในการทำงาน มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีน้ำใจและเอื้ออาทรต่ผู้อื่น
10. ปรับปรุงตนเองให้เข้ากับสังคม และสิ่งแวดล้อมได้เป็นอย่างดี และสามารถสร้าง มรุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลรอบข้าได้อย่างมีความสุข

ผลดีที่ตามมา
1. ได้รับการพิจารณาเข้าทำงานจากสถานประกอบการได้ง่ายกว่าบุคคลอื่น
2.สร้างภูมิคุ้มกันไห้กับตัวเองในการอยู่ร่วมกันในสังคม
3.สร้างบุคลิกและลักษณะนิสัยที่ดีแก่ผู้พบเห็น
4. มีความเข้าใจและยอมรับกับสิ่งที่เกิดจขึ้นตลอดเวลา
5. สร้างความกระตือรือร้น และใผ่ดีตลอดเวลา
6. มีความคิดสร้างสรรค์ในการทำงาน
7. มีความสุขต่อการทำงานและในชีวิตประจำวัน
8.สร้างความเข้าใจกับบุคคลอื่นๆ ด้วยกลักการและแหตุผล
9. ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ด้วยหลักการและเหตุผล
10. สร้างความหวังและกำลังใจให้ตนเอง

การพัฒนาตนเอง
สังคมไทยทึกวันนี้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเป็นอันมาก จะเห็นได้ว่าสังคมไทยรับเอาวัฒนธรรมตะวันตกมาใช้มากมายหลายอย่าง ทั่งนี้ในด้านที่ดีและด้านที่ไม่ดี ไม่ว่าจะเป็นแนวคิด วิภีขีวิต การทำงานตลอดจนการให้ความสำคัญแก่วัตถุนิยม ฯลฯ ทำให้สังคมไทยปัจจุบันค่อนข้างจะสับสน และมีความขัดแย้งระหว่างบุคคลต่างๆ ที่อยู่ในสังคมค่อนข้างมาก จนน่าจะมีการทบทวนดูว่าเราควรจะพัฒนาตนเองไปในทิศทางไดจึงจะถูกต้องและเหมาะสม


เอาความดี เป็นแกนกลาง ทางชีวิต
เอาความคิด เป็นเครื่องช่วย อำนวยผล
เอาแรงงาน เป็นกลไกล ภายในตน
นี่คือคน มีคุณค่า ราคางาม
สรุป
บุคลิกภาพมีความสำคัญต่อการทำงานอย่างยิ่ง เพราะคนที่มีบุคลิกภาพที่ดีย่อมจะช่วยส่งเสริม การปติบัตงาน และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปษิบัติงานอื่นๆ บุคลิกภาพประกอบไปด้วยลักษณะภายนอกแบะภายในของแต่ละบุคคล
บุคลิกภาพภายนอกภือเป็นรูปธรรม คือ รูปร่างหน้าตาของแต่ละบุคคล ที่เป็นมาแต่กำเนิด
บุคลิภายใน ภือเป็นนามธรรม คือลักษณะภายในทางด้านจิตใจ อุปนิสัยใจคอ
บุคลิกภาพของแต่ละบุคคลย่อมจะแตกต่างกันไป ฉะนั้นการเสริมสร้างและพัษนาบุคลิกภาพใน ทุกๆด้าน ให้เป็นที่ยอมรับของบุคคลอื่น ก็จะเป็นที่ได่รับความสำเร็จในการดำรงตนในสังคมอย่างมีความสุข

วันอาทิตย์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2552

พรบ คอมพิวเตอร์ 90

หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์


มาตรา 5 : ถ้าระบบไหนมีการป้องกัน แล้วเราเจาะเข้าไปโดยไม่ได้รับอนุญาติ ติดคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท


มาตรา 6 : ใครรู้ช่องโหว่ของระบบคนอื่น แล้วเอาไปเผยแพร่ ติดคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท


มาตรา 7 : เข้าถึงข้อมูลที่เค้ามีการป้องกันไว้ ติดคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน สี่หมื่นบาท


มาตรา 8 : ดักรับข้อมูลที่เค้ากำลังส่งหากัน ติดคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน หกหมื่นบาท


มาตรา 9 : ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม ข้อมูลของคนอื่น ติดคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท


มาตรา 10 : ทำำให้ระบบของคนอื่น ถูกระงับ หรือชะลอ จนไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ ติดคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท


มาตรา 11 : ส่งข้อมูล หรือ e-mail โดยไม่บอกที่มาหรือโกหก จนรบกวนคนอื่น ปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท


มาตรา 14 : ทำผิดตามต่อไปนี้ ติดคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท : นำข้อมูลที่เป็นเท็จหรือปลอมแเข้ปลงเสู่ข้าสู่ระบบ ทำให้ผู้อื่นเสียหาย


: นำข้อมูลที่ผิดเกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ หรือเกี่ยวกับกฎหมาย : นำภาพโป๊เข้าสู่ระบบ โดยคนทั่วไปเข้าถึงได้


: เผยแพร่ หรือส่งต่อ สามข้อข้างบน


มาตรา 16 : นำภาพตัดต่อคนอื่นเข้าระบบ แล้วคนทั่วไปเข้าถึงได้ ทำให้เค้าเสียหาย ติดคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน หกหมื่นบาท


มาตรา 17 : ผู้ใดกระทำตามความผิดตามราชบัญญัตินี้นอกจากราชอาณาจักรและ


1.การกระทำความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแห่งประเทศที่มีความผิดได้เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้ร้องขอโทษ หรือ


2.ผู้กระทำความผิดนั้นเป็นคนต่างด่าว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหายและได้ขอร้องโทณ


ต้องรับโทษภายในราชอาณาจักร